
เหมาะสำหรับ
ระยะเวลาหลักสูตร อบรมผ่านระบบ E-Learning จำนวน 5.5 ชั่วโมง อบรม On-Site จำนวน 2 วัน
โดยมีเนื้อหาสำคัญ
- การบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบมืออาชีพ
- การสร้างแบรนด์และกลยุทธ์ทางการตลาด
- การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
- การสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับนักท่องเที่ยว (Customer Experience Management)
- แนวทางการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน (Sustainable & Responsible Tourism)

การท่องเที่ยวอย่างไรให้เป็นมืออาชีพ
(บทเรียนออนไลน์ จำนวน 12 ตอน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
การท่องเที่ยวอย่างมืออาชีพเพื่อความยั่งยืน”
การบริหารจัดการการท่องเที่ยวจำเป็นต้องใช้ข้อมูลเศรษฐกิจ สถิติสำคัญ
และแนวโน้มตลาด
เพื่อวางแผนและตัดสินใจ
อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมถึง
การพัฒนา
ห่วงโซ่อุปทาน
(Supply
Chain) และการสร้าง เครือข่าย
ความร่วมมือ ระหว่าง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ชุมชนท้องถิ่น
เพื่อสนับสนุน
การเติบโตของอุตสาหกรรม
แนวทางการบริหาร
ที่มีประสิทธิภาพควรครอบคลุม
การวิเคราะห์ SWOT,
การบริหารธุรกิจที่พัก
ตามมาตรฐาน,
การจัดการ
แหล่งท่องเที่ยว
และ
การพัฒนา
เส้นทางท่องเที่ยว
พร้อมคำนึงถึง
การกำกับดูแล
ตาม
หลักธรรมาภิบาลและกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง เช่น
Legal &
Compliance, PDPA และแนวทาง Good Governance
การบริหารเชิงกลยุทธ์
ยังรวมถึง
การตั้งเป้าหมาย
ที่ชัดเจน (SMART Goals),
ระบบควบคุมและติดตามผล (Monitoring & Evaluation)
และ
การจัดการ ต้นทุน การเงิน
และความเสี่ยง
เพื่อให้ธุรกิจและแหล่งท่องเที่ยว
เติบโตอย่างมีเสถียรภาพและสอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาด

การท่องเที่ยวยุคใหม่
(บทเรียนออนไลน์ จำนวน 6 ตอน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
ยุคใหม่
เพื่อขับเคลื่อน
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว”
“การเป็นผู้นำยุคใหม่ด้านการท่องเที่ยวต้อง
มุ่ง
พัฒนาตนเองและ
ยกระดับ
ความสามารถ
ในการ
บริหารจัดการ
ตามแนวคิดผู้นำ
5 ระดับของ
John C. Maxwell โดยเน้นจริยธรรมและ
ธรรมาภิบาล
การพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลเป็น
หัวใจสำคัญ
ผ่านการตั้งเป้าหมาย ควบคุม
ติดตามผล
และใช้เทคนิคการโค้ช (Coaching) และ
การเป็นที่ปรึกษา (Mentoring)
เพื่อ
เสริมศักยภาพทีมงาน
สร้างความเติบโต
อย่างยั่งยืนใน
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว”

เพื่อ
การท่องเที่ยว
และธุรกิจบริการ
(บทเรียนออนไลน์ จำนวน 6 ตอน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมท่องเที่ยว”
“ทักษะดิจิทัล (Digital Literacy) มีบทบาทสำคัญ
ในการพัฒนา
การท่องเที่ยว
โดยต้องสามารถ
ใช้ (Use) เข้าใจ
(Understand)
สร้าง
(Create) และ
เข้าถึง (Access)
เทคโนโลยีดิจิทัล
อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้
Generative AI
เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยสร้างสรรค์เนื้อหา
วิเคราะห์ข้อมูลตลาด
และ
ส่งเสริมการตลาด
ผ่านสื่อ เช่น
การสร้างดนตรีและภาพ
เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจ
ตัวอย่างการใช้งาน (Use
Cases)
แสดงให้เห็นถึง
ความสามารถของ AI
ในการสนับสนุนอุตสาหกรรม
ทั้งด้านการบริหารงานและ
การตัดสินใจที่
ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล
(Data-Driven Decision
Making)”

สู่ Soft Power ไทย
(ระยะเวลาการอบรม 2 วัน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
การสร้าง
อัตลักษณ์ไทย
สู่เวทีโลก”
Soft Power ในการท่องเที่ยว
เป็นกลไกสำคัญ
ในการสร้าง
ความแตกต่างและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
ผ่านการถ่ายทอด
อัตลักษณ์ไทย (Thainess)
และ
ความแท้จริง (Authenticity)
ของชุมชนท้องถิ่น
การเข้าใจ
ทุนชุมชน 5 ด้าน
ได้แก่ ทุนธรรมชาติ กายภาพ มนุษย์
สังคม การเงิน และ
ทุนวัฒนธรรม
ช่วยให้
การพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยว
มีรากฐานที่แข็งแกร่งและเป็นเอกลักษณ์
Soft Power 6F (Food, Festival, Film, Fashion, Fight, Faith)
กลายเป็น
จุดขายสำคัญที่เชื่อมโยง
นักท่องเที่ยวกับวัฒนธรรมไทย
โดยต้องอาศัย กลยุทธ์
Storytelling และการสร้างคุณค่าร่วม (Shared Value) เพื่อต่อยอด Local to Global
ให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดึงดูดความสนใจจากตลาดสากลได้
นโยบาย OFOS (One Family One Soft Power)
ปี 2567
เป็น
อีกหนึ่งแนวทางที่ช่วย
ผลักดันเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ขณะเดียวกัน
การพัฒนา
การเล่าเรื่อง
(Storytelling) ผ่านสื่อและ
แพลตฟอร์มดิจิทัล
รวมถึงกิจกรรม
Workshop “Local Soft Power to the World”
จะช่วยให้ชุมชนสามารถ
นำทุนวัฒนธรรม
ไปสร้างโอกาสทางธุรกิจและยกระดับ
การท่องเที่ยวไทย
สู่ระดับโลก

ธุรกิจท่องเที่ยว
(ระยะเวลาการอบรม 2 วัน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
การตลาด
ยุคใหม่เพื่อ
ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมท่องเที่ยว”
การตลาดการท่องเที่ยว ต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับกระแส เทรนด์
และพฤติกรรมของ
นักท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลง โดยมุ่งเน้น
Segmentation & Targeting
เพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น FIT (Free Independent Traveler), MICE,
Niche Market, High-Value Travelers, Family & Multigeneration และสร้าง
Positioning ที่เหมาะสมกับชุมชน ธุรกิจ และพื้นที่
การพัฒนาสินค้าท่องเที่ยว ต้องอิง
อัตลักษณ์พื้นถิ่น
ควบคู่กับกลยุทธ์
การกำหนดราคา
(Pricing Strategy) และ
ช่องทางการขาย
(Distribution Channels)
ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ โดยต้องมีพันธมิตร
ทางธุรกิจ
เช่น OTA (Online Travel
Agency), DMC (Destination Management Companies) และ
บริษัทนำเที่ยว
เพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาด
การตลาดดิจิทัลเป็นหัวใจสำคัญของการแข่งขัน โดย SEO (Search Engine Optimization)
และ Meta Search ช่วยให้ธุรกิจเข้าใจ
ข้อมูล
การแข่งขันและ
ปรับกลยุทธ์
ได้แม่นยำ
นอกจากนี้
การบริหารฤดูกาลท่องเที่ยว
(High/Low
Season Management), Content
Marketing และ
Social Media Marketing
เป็นเครื่องมือ
ที่ช่วย
ดึงดูด
กลุ่มเป้าหมาย
และสร้าง
การมีส่วนร่วม

สู่ธุรกิจ
การบริการ
มืออาชีพ
(ระยะเวลาการอบรม 2 วัน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
เพื่อ
สร้างประสบการณ์ที่
เหนือระดับ”
“การบริหารงานบริการที่เป็นเลิศ (Service Excellence)
เริ่มจาก
การวางนโยบายและ
การบริหารจัดการ
งานบริการที่มีมาตรฐาน
พร้อมพัฒนา
Service
Coaching และ
การวัดผลเพื่อสร้างทีมบริการที่
มีประสิทธิภาพ
(Good Service Teamwork)
การออกแบบ
การบริการ
(Service Design)
ควรคำนึงถึง
Traveler Journey ตั้งแต่
ก่อน
ระหว่าง และหลัง
การท่องเที่ยว
โดยผสาน
อัตลักษณ์พื้นถิ่น
เพื่อสร้างประสบการณ์ที่น่าจดจำ
การบริหารประสบการณ์ลูกค้า
(CEM) และ
การสร้างความสัมพันธ์
กับลูกค้า (CRM)
มีบทบาทสำคัญในการรักษาฐานลูกค้าและ
ส่งเสริม
การกลับมาใช้บริการ
ขณะที่การรับมือกับ
ข้อร้องเรียน (Customer Complaint
Handling)
ต้องดำเนินการอย่างมืออาชีพและสร้าง
ความพึงพอใจสูงสุด
ปิดท้ายด้วย Workshop
ฝึกปฏิบัติ
พัฒนา
แผนการบริการที่ออกแบบตาม
Traveler
Journey
โดยกำหนด
ผู้รับผิดชอบ
แต่ละขั้นตอน
เพื่อให้บริการสอดคล้องกับ
อัตลักษณ์ของพื้นที่”

ท่องเที่ยว
สู่ความยั่งยืน
(บทเรียนออนไลน์ จำนวน 9 ตอน)
และทำแบบทดสอบท้ายวิชา 10 ข้อ
มีความรับผิดชอบ”
Sustainable & Responsible Tourism
ไม่ใช่เพียงแนวคิด
แต่เป็นทิศทางหลักของ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวโลก
ที่มุ่งลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและสร้างสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ
สังคม
และวัฒนธรรม
นำไปสู่ Green Tourism,
Low Carbon
Tourism และ
Eco-Tourism
ที่ช่วยให้แหล่งท่องเที่ยวเติบโตได้โดยไม่ทำลายทรัพยากรดั้งเดิม
การขับเคลื่อนสู่ Zero Waste & Net Zero
Emissions ผ่านแนวทาง BCG Tourism
(Bio-Circular-Green Economy) และมาตรฐานความยั่งยืน เช่น ESG, Waste Management
และ Regenerative Tourism เป็นกุญแจสำคัญที่ไม่เพียงแต่ช่วยลด
ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
แต่ยังฟื้นฟูระบบนิเวศและส่งเสริม
การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับชุมชน
นอกจากนี้ Inclusive Tourism & Accessible Tourism
กลายเป็นมาตรฐานใหม่ที่ช่วยให้ทุกคนเข้าถึงการท่องเที่ยวอย่างเท่าเทียม ผ่าน
Diversity & Inclusion (D&I) และ Service Design for Inclusivity
ซึ่งช่วยออกแบบประสบการณ์ที่รองรับนักท่องเที่ยว
ทุกกลุ่ม ไม่ว่า
จะเป็น
ผู้สูงอายุ
ผู้พิการ หรือ
กลุ่มนักท่องเที่ยวเฉพาะทาง
